หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile Deviation)

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ คือ ค่าที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูลโดยพิจารณาจากครึ่งหนึ่งของระยะจากควอไทล์ที่ 3 (Q3) ถึง ควอไทล์ที่ 1 (Q1) หรือ ครึ่งหนึ่งของความแตกต่างระหว่างควอไทล์ที่ 3 (Q3) และควอไทล์ที่ 1 (Q1) ของคะแนนข้อมูลชุดหนึ่งๆ เป็นการจัดการกระจายเพื่อวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วยมัธยฐาน
โดยใช้สูตร Q.D =
เมื่อ Q.D คือ ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
Q3 คือ ควอไทล์ที่ 3
Q1 คือ ควอไทล์ที่ 1
ตัวอย่างที่ 14 จากข้อมูลที่ให้จงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
ช่วงคะแนน
ความถี่ (f)
ความถี่สะสม (Cf)
5 – 9
10 – 14
15 – 19
20 – 24
25 – 29
30 – 34
35 - 39
3
4
10
15
14
10
4
3
7
17 - Q3
32
46 - Q1
56
60
 N = 60 

วิธีทำ     1. หาตำแหน่ง Q1 และ Q3สูตร Qx = L1 + I
Qx คือ ค่าควอไทล์ที่ต้องการหา
L1 คือ ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงของชั้นคะแนนที่ควอไทล์อยู่
i คือ อัตรภาค
N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
X คือ ตำแหน่งที่ของควอไทล์
F คือ ความถี่สะสมของชั้นก่อนถึงชั้นที่ควอไทล์อยู่
f คือ ความถี่ของชั้นที่ควอไทล์อยู่
ค่าของคะแนนในตำแหน่ง Qx =
Q1 ของคะแนนชุดนี้ตรงกับข้อมูลตัวนี้ = 15
Q3 ของคะแนนชุดนี้ตรงกับข้อมูลตัวนี้ = 45
    2. หาค่า Q1 และ Q3
Q1 คือ ข้อมูลตัวที่ 15 ตกอยู่ในชั้นคะแนน 15 – 19 (i = 5)
Q1 = 14.5 + 5 = 18.5
Q3 คือ ข้อมูลตัวที่ 45 ตกอยู่ในชั้นคะแนน 25 - 29Q3 = 24.5 + 5   = 29.14
    3. นำค่า Q1 และ Q3 แทนค่าQ.D =    =   = 5.32

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ คือ 5.32 อธิบายได้ว่าโดยเฉลี่ยคะแนนกระจายห่างจากคะแนนที่เป็น
มัธยฐานอยู่ 5.32
ข้อสังเกต
  1. การวัดการกระจายโดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ยังคงใช้คะแนนเพียง 2 ค่า คือ คะแนนในตำแหน่ง Q1 และ Q3 ทำให้การกระจายของข้อมูลที่วัดได้ไม่ละเอียดเท่าที่ควร
  2. ใช้วัดการกระจายของข้อมูลที่มีบางค่าสูงหรือต่ำกว่าข้อมูลอื่นๆ ในชุดเดียวกัน
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://reg.ksu.ac.th/Teacher/kanlaya/3.7.html

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile Deviation)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

               
                 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (อังกฤษ: standard deviation: s.d.) ในทางสถิติศาสตร์และความน่าจะเป็น เป็นการวัดการกระจายแบบหนึ่งของกลุ่มข้อมูล สามารถนำไปใช้กับการแจกแจงความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม ประชากร หรือมัลติเซต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมักเขียนแทนด้วยอักษรกรีกซิกมาตัวเล็ก (σ) นิยามขึ้นจากส่วนเบี่ยงเบนแบบ root mean square (RMS) กับค่าเฉลี่ย หรือนิยามขึ้นจากรากที่สองของความแปรปรวน
            
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคิดค้นโดย ฟรานซิส กาลตัน (Francis Galton) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1860 [1] เป็นการวัดการกระจายทางสถิติที่เป็นปกติทั่วไป ใช้สำหรับเปรียบเทียบว่าค่าต่างๆ ในเซตข้อมูลกระจายตัวออกไปมากน้อยเท่าใด หากข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ใกล้ค่าเฉลี่ยมาก ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก็จะมีค่าน้อย ในทางกลับกัน ถ้าข้อมูลแต่ละจุดอยู่ห่างไกลจากค่าเฉลี่ยเป็นส่วนมาก ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก็จะมีค่ามาก และเมื่อข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากันหมด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมีค่าเท่ากับศูนย์ นั่นคือไม่มีการกระจายตัว คุณสมบัติที่เป็นประโยชน์อย่างหนึ่งก็คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานใช้หน่วยอันเดียวกันกับข้อมูล แต่กับความแปรปรวนนั้นไม่ใช่
ในการวัดการกระจายโดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยนั้นมีปัญหาในเรื่องการใช้เครื่องหมายสัมบูรณ์ (Absolute Value) ซึ่งทำให้ค่าที่วัดได้ลดความเชื่อถือไป จึงมีการคิดวิธีวัดการกระจายโดยการยกกำลังสองของผลต่างระหว่างคะแนนกับมัชฌิมเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้นแล้วถอดกรณ์ที่ 2 ของส่วนเบี่ยงเบนยกกำลังสองเฉลี่ย เป็นวิธีการวัดการกระจายที่ เรียกว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานใช้วัดการกระจายของข้อมูล เพื่อพิจารณาว่าคะแนนแต่ละตัวจะแตกต่างไปจากค่ากลางมากน้อยเพียงใด คำนวณโดยเอาคะแนน X แต่ละตัวลบด้วยมัชฌิมเลขคณิต() ของข้อมูลชุดนั้น ซึ่ง X – แต่ละตัวอาจมีค่าเป็นลบ (X < ) หรือบวก (X>) จึงต้องยกกำลังสองของคะแนนเบี่ยงเบนแต่ละตัวนั้นเพื่อให้เครื่องหมายหมดไป แล้วหาค่าเฉลี่ยของผลบวกของกำลังสองของคะแนนเบี่ยงเบน คือ ซึ่งจะได้รับค่าความแปรปรวน ถ้าถอดรากที่สองของค่าความ แปรปรวนจะได้ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน (Variance) คือ ค่าเฉลี่ยของผลรวมทั้งหมดของคะแนนเบี่ยงเบนยกกำลังสอง ใช้สัญลักษณ์ S2 แทนความแปรปรวนของกลุ่มตัวอย่างและ s 2 แทนความแปรปรวนของประชากรซึ่งหาได้จากสูตร
                ความแปรปรวนประชากร s 2 =
                ความแปรปรวนของกลุ่มตัวอย่าง S2 =
คือ มัชฌิมเลขคณิตกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คือ รากที่สองของความแปรปรวน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร s ใช้สูตร
    s =
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง S ใช้สูตร        S =

ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการวิจัย
ในที่นี้เราจะใช้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวัดการกระจายซึ่งใช้กับจำนวนข้อมูลจำนวนไม่มากนักและนิยมใช้กันโดยทั่วไป ซึ่งคำนวณได้ดังนี้


X

( X-)

( X-)2

1
2
4
6
8
9

-4
-3
1
1
3
4

16
9
1
1
9
16

= 52


                                S.D. = =   =    =
      ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้คือ 2.9                                    



คะแนน

f

x

fx

x -

(x - )2

f(x - )2

5 – 9
10 – 14
15 - 19
20 – 24
25 – 29
30 – 34
35 – 39

3
6
7
8
10
12
14

7
12
17
22
27
32
37

21
72
119
176
270
384
148

-16.8
-11.8
-6.8
-1.8
3.2
8.2
13.2

282.24
139.24
46.24
3.24
10.24
67.24
172.24

846.72
835.44
323.68
25.92
102.4
806.88
696.96

N = 50



วิธีทำ             1. หาค่ามัชฌิมเลขคณิต =
        ข้อสังเกต1. เป็นการวัดการกระจายที่ให้ค่าลักษณะข้อมูลได้ละเอียดและดีที่สุดและเป็นการวัดการกระจายที่ใช้กันมากที่สุด
2.เมื่อเอาค่าคงที่ (C) บวก หรือ ลบคะแนนทุกตัวของข้อมูลชุดหนึ่ง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนั้นจะไม่เปลี่ยนแปลง
3.เมื่อเอาค่าคงที่ (C) คูณคะแนนทุกตัวของข้อมูลชุดหนึ่ง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่จะเปลี่ยนแปลงไปดังนี้

4.เมื่อเอาค่าคงที่ (C) หารคะแนนทุกตัวของข้อมูลชุดหนึ่ง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่จะเปลี่ยนแปลงไปดังนี้


ขอขอบคุณข้อมูลจาก :  http://reg.ksu.ac.th/teacher/kanlaya/3.9.html
                             และ :  wikipedia
S = Sx
= 2. หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน                    สูตร S.D =
                                    =
                                    =
                                    =
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลนี้ คือ 8.53
    1. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลที่จัดหมวดหมู่ (Grouped Data)
S.D. =
S.D. คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
f คือ ความถี่
X คือ จุดกึ่งกลางชั้น คือ มัชฌิมเลขคณิต
N คือ จำนวนข้อมูล
ตัวอย่างที่ 19 จากข้อมูลในตารางจงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
    1. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่ (Ungrouped Data) สูตร S.D. =
      S.D. คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
      X1 คือ ข้อมูล (i = 1,2,3…N) คือ มัชฌิมเลขคณิต
      N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
      ตัวอย่างที่ 17 จงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้ 1, 2, 4, 6, 8, 9วิธีทำ 1. หาค่ามัชฌิมเลขคณิต =
      = 5
    2. หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สร้างตารางช่วยในการคำนวณ
 

มัชฌิมฮาร์โมนิค

มัชฌิมฮาร์มอร์นิก (เอชเอ็ม)
         คำศัพท์ภาษาอังกฤษ harmonic mean (H.M.)
         คำอธิบาย ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งที่ได้จากการหารจำนวนข้อมูลทั้งหมดด้วยผลบวกของส่วนกลับของข้อมูลชุดนั้น  ใช้อักษรย่อ H.M.
 
มัชฌิมฮาร์โมนิคมักพบใช้เสมอ ๆ ในการคำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ยในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมีจำนวนไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยังใช้ในการคำนวณหาความเร็วเฉลี่ย เมื่อระยะทางในการเปลี่ยนความเร็วมีช่วงเท่า ๆ กัน
ถ้า X1, X2, X3, ... , XN เป็นตัวเลขชุดหนึ่งที่มี N จำนวนแล้ว สูตรในการคำนวณหามัชฌิมฮาร์โมนิคของข้อมูลชุดนี้คือ
มีกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 มี 52 คน กลุ่มที่ 2 มี 60 คน และกลุ่มที่ 3 มี 48 คน คำนวณหาจำนวนคนในกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ยได้ดังนี้
จำนวนคนในกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ยคือ 53 คน

สูตรที่เกี่ยวข้องกับค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก (Harmonic mean)
         ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่         




 ขอขอบคุณข้อมูลจาก :  http://www.watpon.com/Elearning/stat14.htm



         ข้อมูลที่แจกแจงความถี่